บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 7
วันอังคาร ที่ 30 กันยายน พ.ศ.2557
ลมคืออะไร?
ลม(Wind) คือ อากาศที่เคลื่อนที่
กังหัน Turbine
สามารถสังเกตุเห็นดังนี้
แถวที่1และแถวที่2 ตัดกระดาษผ่าครึ่งลงไปครึงของครึ่งกระดาษ สังเกตุเห็นได้ว่าเมื่อทดลองโยน กังหันตกถึงพื้นเร็ว เพราะ 1.การตัดกระดาษ 2.แรงที่โยน 3.วิธีการโยน
แถวที่3 ตัดกระดาษลงมาถึงครึ่งกระดาษ สังเกตุเห็นได้ว่าเมื่อทดลองโยน กังหันตกถึงพื้นช้าลง เพราะ 1.การตัดกระดาษ 2.แรงที่ใช้โยน 3.วิธีการโยน
แถวที่4 ตัดกระดาษตามใจชอบ สังเกตุเห็นได้ว่าเมื่อทดลองโยน มีรูปแบบการตัดกระดาษที่แตกต่าง การลงของกังหันก็เลยแตกต่างกัน เพราะ 1.กาตัดกระดาษ 2.แรงที่โยน 3. วิธีการโยน
สรุปจากกิจกรรม
ถ้าตัดกระดาษที่แตกต่าง ก็จะเกิดรูปแบบที่แตกต่างกัน กังหันลงพื้นช้า เพราะอากาศต้านปีกของกังหัน
คิดวิธีการเล่น
นำสิ่งประดิษฐ์ตัวนี้ มาห้อยคอแล้วดึงเชือกจากข้างล่างขึ้นมาเรื่อยๆ โดยให้เชือกข้างล่างขยายขนาดออกเรื่อยๆ สิ่งประดิษฐ์ก็จะเลื่อนขึ้น แต่ถ้าจะลงละ ก็ต้องค่อยๆหุบเชือกเข้า แล้วชักซ้ายขวา สามารถเปรียบกับหนึ่งสิ่งได้ที่เราเห็นมาแต่เด็กเหมือนกับเราชักเสาธงนั่นเอง
บทความ
1.สะกิดให้ลูกคิดแบบวิทยาศาสตร์
ขั้นตอนการคิดแบบวิทยาศาสตร์
1.การมีส่วนร่วม Participation
2.สำรวจ Survey ให้เด็กค้นหาความรู้ด้วยตนเอง
3.อธิบาย Description ให้วิเคราะห์ สำรวจ ตรวจสอบจากขั้นที่2 ให้เด็กอธิบายตามความเข้าใจของตนเอง
4.รายละเอียด Details ขยายความรู้ในสิ่งที่เรียนรู้
5.ประเมิน Assessment ตรวจสอบสิ่งที่เรียนรู้
2.สนุกสนานจากการเรียนรู้จากทุกวิชา จากไก่และเป็ด ของเด็กปฐมวัย บูรณาการวิทย์-คณิตศาสตร์
1.ขั้นนำ ทำท่าไก่ ร้องเพลง ฟังนิทาน
2.ขั้นสอน ตั้งคำถามเชิงวิทยาศาสตร์ เป็ด และ ไก่ เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
3.ขั้นสรุป ให้เด็กค้นหาคำตอบด้วยตนเอง หรือสรุปคำตอบนั้นด้วยตนเอง
3.เทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์
ส่งเสริมให้เด็กผึกการสังเกตุ ค้นหาข้อมูล และหาคำตอบด้วยตนอง
การปลูกฝังให้เด็กมีความสนุกสนานกับวิทยาศาสตร์ ควรสร้างให้เด็กมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ และให้เด็กลงมือกระทำ และสังเกตุสิ่งที่ทำ ค้าหาข้อมูล และหาคำตอบด้วยตนเอง ควรจัดให้บูรณษการเข้ากับวิชาอื่นๆ พาเด็กออกไปเปลี่บยบรรยากาศให้พบกับวิทยาศาสตร์จริงๆ เช่น ออกไปดูต้นไม้ ต้นหญ้า ดอกไม้ และอื่นๆอีกมากมายนอกห้องเรียน ไปพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ หรือจะให้เด็กทำสิ่งประดิษฐ์ง่ายๆด้วยตนเองก็ได้
4.หลักสูตรวิทยาศาสตร์ปฐมวัย
5.ส่งเสริมกระบวนการคิดวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก
การนำไปประยุกต์ใช้
จากบทความสามารถนำกิจกรรมที่เพื่อนนำเสนอไปจัดกิจกรรมในห้องเรียนได้จริง และยึดหลักหรือขั้นตอนต่างๆที่เพื่อนนำเสนอก็ได้
ประเมินตนเอง
พัณนาตนเองให้มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาการเรียนมากกว่านี้
ประเมินเพื่อน
เพื่อนในห้องเรียนมีความตื่นตัวในการเรียนตลอดเวลาเพราะอาจารย์สอนโดยการใช้คำถามตลอดเวลา เพื่อนๆสามารถระดมความคิดในการตอบคำถามของอาจารย์จนสามารถตอบอาจารย์ได้ถูกต้องที่สุด
ประเมินอาจารย์
อาจารย์ใช้ความถามในการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาได้ระดมความคิดในการตอบคำถามได้คำตอบที่ถูกต้องที่สุด
เทคนิคการสอน
1.การใช้คำถามเพื่อระดมความคิด
2.บทความ พูด อธิบาย วิเคราะห์บทความ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น